วิทยากร : ผศ.ดร. ชลเมธ อาปณิกานนท์

ระยะเวลา : 2 วัน เวลา 08.30 – 16.30 น.

สถานที่ฝึกอบรม : อาคารคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

วัตถุประสงค์ :

      1. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถ่องแท้ถึงกรอบความคิดเชิงอ็อบเจกต์พื้นฐานและหลักการด้านการออกแบบซอฟต์แวร์เชิงอ็อบเจกต์ที่มีการใช้งานทั่วไป

      2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงความสำคัญของแพตเทิร์นในการออกแบบซอฟต์แวร์

      3. สามารถเข้าใจและจดจำแพตเทิร์นที่พบได้ทั่วไปในการออกแบบซอฟต์แวร์

      4. สามารถประยุกต์ใช้แพตเทิร์นเพื่อออกแบบซอฟต์แวร์ที่ดีขึ้น

ความรู้พื้นฐาน/คุณสมบัติผู้เข้าฝึกอบรม :

      OO Modeling and UML 2

วิธีการอบรม : บรรยาย สาธิต ฝึกปฏิบัติ ตอบข้อซักถาม

การประเมินผล : แบบทดสอบก่อนและหลังฝึกอบรม/แบบประเมินผลการฝึกอบรม

จำนวนผู้เข้าฝึกอบรม : ไม่เกิน 15 คน/กลุ่ม

หลักสูตรต่อเนื่อง/เกี่ยวข้อง :

      – ไม่มี

รายละเอียดหลักสูตร :

      กรอบความคิดและหลักการออกแบบเชิงอ็อบเจกต์ แพตเทิร์นในการออกแบบซอฟต์แวร์ รูปแบบสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ แพตเทิร์นสำหรับสร้างแบบจำลองอ็อบเจกต์คงสภาพ ดีไซน์แพตเทิร์นที่มีตัวกลางประสาน เช่น Façade, Madiator, Adapter และ Proxy ดีไซน์แพตเทิร์นที่ตอบสนองต่อคำสั่งเช่น Command และ Observer ดีไซน์แพตเทิร์นที่ใช้ในการสร้างอ็อบเจกต์อื่น เช่น Factories, Singleton และ Prototypes


เนื้อหาการฝึกอบรม

วันที่ 1

      – OO concept

      – OO design principles

      – Patterns in software design

      – Architectural styles

      – Persistent object modeling patterns

      – Collection iteration

วันที่ 2

      – Mid-level OO design patterns

      – Broker design patterns (Façade, Mediator, Adapter & Proxy)

      – Reactor design patterns (Command & Observer)

      – Generator design patterns (Factories)

      – Generator design patterns (Singleton & Prototypes)

      – Other patterns